ปัจจุบัน ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 3 ระบบใหญ่ ได้แก่ ระบบบัตรทอง ระบบประกันสังคม และสวัสดิการข้าราชการ เชื่อว่า ทุกชีวิตต้องข้องแวะกับระบบใดระบบหนึ่ง และระบบหลักประกันสุขภาพฯ นี้เองที่จะเป็นกำแพงพิงหลังให้กับเราตั้งแต่เกิดไปจนตาย แต่ด้วยข้อมูลที่มากอย่างล้นทะลัก มีความกระจัดกระจายและแยกส่วนกัน บางเรื่องบางราวซับซ้อนและเฉพาะทางจนยากเกินความเข้าใจ นั่นจึงไม่แปลกที่เราอาจเข้าใจเรื่องระบบหลักประกันสุขภาพฯ เพียงผิวเผิน
แต่นับจากนี้ มั่นใจได้ว่าทุกคนจะมีความเข้าใจที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น นั่นคือหน้าที่ของเรา ... The Coverage
The Coverage จะเป็นสื่อกลางและช่องทางการสื่อสารที่บอกเล่าเรื่องราว พาทุกท่านไปสำรวจชีวิต ติดตามแง่คิดและมุมมองของบุคคล อัพเดทข้อมูลข่าวสารไทย-เทศ ในทุกมิติที่เกี่ยวพันกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เชื่อเถอะว่าจะเป็นประโยชน์ ... เชื่อเถอะว่าสำคัญสำหรับคุณ
ขอขอบคุณที่ติดตาม ขอขอบคุณที่ร่วมเดินทางไปด้วยกัน
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2565 มีมติรับทราบรายงาน “การสร้างระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” ประจำปีงบประมาณ 2564…
“พระสงฆ์เป็นผู้นำโดยธรรมชาติ เมื่อพระพูดโยมก็ฟัง” พระครูปลัดนรินทร์ นราสโภ เลขานุการเจ้าคณะอำเภอชุมแสง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ) กล่าวระหว่างการให้สัมภาษณ์กับ “The…
ประเทศไทยมีผู้หญิงที่เสียชีวิตจากมะเร็งเต้านมเป็นอันดับ 1 และมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับ 2 ของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 30-60 ปี ความสูญเสียที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ มาจากการที่ผู้ป่วยหลายคนเข้ารับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะท้ายแล้ว…
เมื่อพูดถึงระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เชื่อว่าส่วนใหญ่คงจะนึกถึง 3 ระบบหลัก หรือ 3 กองทุนหลัก ได้แก่ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง)…
นโยบาย "บัตรทอง 30 บาท รักษาทุกที่" เป็นหนึ่งในนโยบายที่ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.สาธารณสุข…
แม้โครงการ “โรคมะเร็งไปรับบริการที่ไหนก็ได้” จะเกิดเป็นรูปธรรมการให้บริการอันมีประสิทธิภาพแล้ว แต่ก็ยังมีประชาชนจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่ได้รับรู้ถึงการมีอยู่ของโครงการนี้ บางคนไม่เชื่อด้วยซ้ำว่า หากป่วยเป็นโรคมะเร็งจะสามารถรักษาฟรีได้ทุกที่ เพราะนอกจากเป็นโรคที่มีราคาสูงแล้ว ยังเต็มไปด้วยความซับซ้อน อย่างไรก็ดี นพ.จเด็จ…
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เผยแพร่แนวทางการจัดตั้ง “คลินิกรักษาผู้ป่วย Long COVID” เมื่อวันที่ 21 เม.ย.…
ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ดูเหมือนว่า สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้กลายมาเป็นกลไกหลักในการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษา ไม่ว่าจะเป็นการประสานงานผ่าน “สายด่วน…
หากอิงตามมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ที่เห็นชอบแผนบริหารจัดการโรคโควิด-19 สู่โรคประจำถิ่น (Endemic Approach) เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2565 ประกอบด้วย…
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) เผยผลการถอดบทเรียนข้อมูลนโยบายอยู่กับโควิด-19 จากทั่วโลก ซึ่งถึงแม้ว่าจะยังไม่มีหลักฐานที่เชื่อได้ว่าการระบาดของโควิด-19 กำลังยุติลง แต่ในหลายประเทศก็เริ่มมีการผ่อนคลาย-ยกเลิกมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 แล้ว แน่นอนว่าประเทศไทยสามารถเรียนรู้…
“47” คือตัวเลขของผู้ป่วย “มะเร็งปอดรายใหม่” ต่อวันในประเทศไทย และทุกๆ 18 วินาทีจะมีผู้ป่วย 1 ราย ที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปอด…
จากการทดลองใช้ยา Evusheld ของบริษัทแอสตร้าเซนเนก้า (เดิมชื่อ AZD7442) เพื่อป้องกันการติดเชื้อก่อนการสัมผัสโรคนั้น พบว่าสามารถลดความเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 แบบมีอาการ โดยไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง หรือเสียชีวิตจากโรคโควิด-19…
“ศูนย์สกัดสารพันธุกรรม” ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เริ่มเดินหน้าส่งกลุ่มตัวอย่างดีเอ็นเอ ที่เปิดรับกลุ่มตัวอย่างมาจากเครือข่ายสถาบันวิจัยทางคลินิกทั่วประเทศ กว่า 36 หน่วยงาน เข้าสู่กระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม โดยทยอยทำการส่งต่อไปยังศูนย์บริการทดสอบทางการแพทย์จีโนมิกส์…
การเกิดขึ้นของนโยบายดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 แบบผู้ป่วยนอก (เจอแจกจบ) ดูเหมือนว่าจะช่วยบรรเทาภาระอันหนักอึ้งของบุคลากรทางการแพทย์ได้เป็นอย่างดี สะท้อนผ่านจำนวนการครองเตียงในโรงพยาบาล กรณีผู้ติดเชื้อกลุ่มสีเหลืองและสีแดง อย่างไรก็ดี ตลอดระยะเวลากว่า 2 ปีที่บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องสู้รบกับโรคระบาด…
งานวิจัยและวิทยานิพนธ์นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม หัวข้อ “การพัฒนากฎหมายเพื่อการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพ” โดย พรเทพ อ่อนรัตน์ ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันที่ 20…
ที่ผ่านมาคนไทยอาจพอคุ้นเคยกับนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ หรือที่เราเรียกกันว่า "สิทธิ UCEP" (Universal Coverage for Emergency Patients)…
ข้อมูลจากการแถลงข่าววันที่ 5 เม.ย. 2565 ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เผยว่า ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.…
การระบาดของเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน กำลังสร้างปัญหาใหม่ให้แก่ระบบสาธารณสุขไทย โควิด-19 ที่สามารถแพร่กระจายได้ง่ายและติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ตั้งแต่ต้นปีมายอดผู้ติดเชื้อรายใหม่พุ่งสูงขึ้นเป็นหลักหมื่นทุกวัน ซึ่งการรักษาในขณะนี้ คือการรับประทานยาตามอาการ จากการเปิดเผยของ “ชมรมแพทย์ชนบท”…
ไม่เพียงวงการศึกษาเท่านั้น หากแต่วงการสุขภาพ รวมถึงแวดวงธุรกิจเองก็กำลังจะได้รับอานิสงค์จากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ที่กำลังก้าวสู่ทศวรรษแห่งบทบาทใหม่ภายใต้วิสัยทัศน์ “Better Future Beyond Boundaries”…
“มะเร็งเต้านม” นับเป็นภัยร้ายอันดับ 1 ของหญิงไทยรวมไปถึงพบได้บ่อยที่สุดในหญิงทั่วโลก กรมการแพทย์ โดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ก็ได้มีการออกคำแนะนำให้มีหมั่นตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน และสังเกตความผิดปกติ เช่น ขนาดหรือรูปร่างของเต้านมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม…